Page 29 - ปรับ แนวนโยบายและแนวปฏิบัติ ใหม่ 2564 ทำebook
P. 29

๑๖


                       (๕)  จัดเก็บขอมูลที่สํารองนั้นใสในสื่อเก็บขอมูล  โดยมีการพิมพชื่อบนสื่อ และนําไปเก็บในสถาที่ซึ่ง

                            หางจากมหาวิทยาลัยเพียงพอเพื่อไมใหสงผลกระทบตอขอมูลที่จัดเก็บไวนอกสถานที่นั้นในกรณี

                            ที่เกิดภัยพิบัติกับมหาวิทยาลัย เชน ไฟไหม น้ําทวม

                       (๖)  ปองกันทางกายภาพอยางเพียงพอตอสถานที่ใชจัดเก็บขอมูลนอกสถานที่

                       (๗)  ทดสอบการอานขอมูลสํารองอยางสม่ําเสมอเพื่อตรวจสอบวายังคงสามารถเขาถึงขอมูลได

                            ตามปกติ

                       (๘)  ทําขั้นตอนปฏิบัติสําหรับการกูคืนขอมูลที่เสียหายจากขอมูลที่ไดสํารองเก็บไว

                       (๙)  ตรวจสอบและทดสอบประสิทธิผลของขั้นตอนปฏิบัติในการกูคืนขอมูลอยางสม่ําเสมอ

                       (๑๐) กําหนดใหมีการใชงานการเขารหัสขอมูลกับขอมูลลับที่ไดสํารองเก็บไว

               ๒. จัดทําแผนเตรียมความพรอมกรณีฉุกเฉินในกรณีที่ไมสามารถดําเนินการดวยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส

                   เพื่อใหสามารถใชงานสารสนเทศไดตามปกติอยางตอเนื่อง โดยตองปรับปรุงแผนเตรียมความพรอมกรณี

                   ฉุกเฉินดังกลาวใหสามารถปรับใชไดอยางเหมาะสมและสอดคลองกับการใชงานตามภารกิจตามแนวทาง

                   ตอไปนี้

                   ๒.๑. จัดทําแผนเตรียมความพรอมกรณีฉุกเฉินดานเทคโนโลยีสารสนเทศในกรณีที่ไมสามารถดําเนินการ

                       ดวยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส โดยมีรายละเอียด

                       (๑)  กําหนดหนาที่และความรับผิดชอบของผูที่เกี่ยวของทั้งหมด

                       (๒)  ประเมินความเสี่ยงสําหรับระบบที่มีความสําคัญเหลานั้น และกําหนดมาตรการ เพื่อลดความ

                            เสี่ยงเหลานั้น

                       (๓)  กําหนดขั้นตอนปฏิบัติในการกูคืนระบบสารสนเทศ

                       (๔)  กําหนดขั้นตอนปฏิบัติในการสํารองขอมูล และทดสอบกูคืนขอมูลที่สํารองไว

                       (๕)  กําหนดชองทางในการติดตอกับผูใหบริการภายนอก ผูใหบริการเครือขาย ฮารดแวร ซอฟแวร

                            เมื่อเกิดเหตุจําเปนที่จะตองติดตอ

                       (๖)  สรางความตระหนัก หรือใหความรูแกเจาหนาที่ผูเกี่ยวของกับขั้นตอนการปฏิบัติ หรือสิ่งที่ทําเมื่อ

                            เกิดเหตุเรงดวน

                   ๒.๒. ทบทวนเพื่อปรับปรุงแผนเตรียมความพรอมกรณีฉุกเฉินดังกลาวใหสามารถปรับใชไดอยางเหมาะสม

                       และสอดคลองกับการใชงานตามภารกิจ ปละ ๑ ครั้ง

               ๓. กําหนดหนาที่และความรับผิดชอบของบุคลากรซึ่งดูแลรับผิดชอบระบบสารสนเทศ  ระบบสํารอง และการ

                   จัดทําแผนเตรียมความพรอมกรณีฉุกเฉินในกรณีที่ไมสามารถดําเนินการดวยวิธีการทางอิเล็กทรอนิกส
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34