Email: arit@rmutsb.ac.th

แนวทางการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ และการปฏิบัติงานที่บ้าน (Work from Home)


                  ตามที่สถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19) ซึ่งมีแนวโน้มที่จะเกิดการระบาดขนาดใหญ่และยืดเยื้อซึ่งมหาวิทยาลัยได้มีมาตรการและการเฝ้าระวังการระบาดของไวรัสโคโรนาสายพันธ์ใหม่ 2019 (ฉบับที่ 2) โดยกำหนดมาตรการจัดการดูแลนักศึกษาของมหาวิทยาลัยโดยกำหนด ให้ผู้สอนจัดการเรียนการสอนในรูปแบบออนไลน์ และมาตรการการทำงานสำหรับบุคลากรในมหาวิทยาลัย โดยบริหารจัดการให้มีการทำงานที่บ้าน (Work from Home) นั้น   

                  สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศได้ดำเนินการจัดเตรียมความพร้อมในการใช้เครื่องมือ/ซอฟแวร์ต่าง ๆ ในการสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ และการปฏิบัติงานที่บ้าน (Work from Home) ที่สามารถใช้งานได้ตามสถานการณ์นี้

เครื่องมือ/ซอฟแวร์ที่สามารถเข้าถึงได้ฟรี ด้วยบัญชีของมหาวิทยาลัยเท่านั้น (ตรวจสอบอีเมลบัญชีมหาวิทยาลัย => [นักศึกษา][บุคลากร])

  1. สำหรับการเรียนการสอนออนไลน์
    • อาจารย์ผู้สอนสามารถถ่ายทอดสดการเรียนการสอนผ่านระบบวิดีโอคอนเฟอเรนซ์ (video conference) ด้วย Google Meet
    • อาจารย์ผู้สอนสามารถสร้างและใช้งานห้องเรียนออนไลน์ด้วย Google Classroom
  2. สำหรับทำงานจากทางบ้าน

        1. Google Meet

Android =>             |               IOS =>  

รายละเอียดเพิ่มเติมคลิก...


        2. Google Classroom

Android =>             |                IOS => 

รายละเอียดเพิ่มเติมคลิก...


        3. ZOOM

Android =>             |                IOS =>        

รายละเอียดเพิ่มเติมคลิก...


         4.Microsoft Teams

Android =>             |                IOS =>        

รายละเอียดเพิ่มเติมคลิก...


        5. Google Drive

    • เป็นบริการที่ทำให้เราสามารถนำไฟล์ต่าง ๆ ไปฝากไว้กับ Google ผ่านพื้นที่เก็บข้อมูลระบบคลาวด์และการสำรองข้อมูลไฟล์ที่มีความปลอดภัย
    • เข้าใช้งานได้ที่ https://drive.google.com/
    • คู่มือการใช้งาน Google Drive [ดูทั้งหมด]
    • แหล่งเรียนรู้จากภายนอก [เพิ่มเติม] **ขอบคุณแหล่งเรียนรู้จากภายนอก Youtube.com   
    • สำหรับอุปกรณ์คอมพิวเตอร์เคลื่อนที่ (Mobile Devices) แหล่งดาวน์โหลดแอปพลิเคชั่น Google Drive ดังนี้

Android =>             |                IOS => 

รายละเอียดเพิ่มเติมคลิก...


      6. loom 

    • loom คือ โปรแกรมที่ใช้ในการบันทึกวิดีโอการสอน จับภาพหน้าจอ และสามารถแบ่งปันวิดีโอไปในช่องทางต่าง ๆ ได้ ด้วยขั้นตอนง่าย ๆ มีขั้นตอนการใช้งานที่ไม่ซับซ้อน สามารถนำมาใช้เป็นเครื่องมือเสริม/สนับสนุนในการจัดการเรียนการสอนออนไลน์อีกเครื่องมือหนึ่ง
    • เข้าใช้งานได้ที่ https://www.loom.com/signup
    • คู่มือการใช้งาน loom [ดูทั้งหมด]
    • สำหรับอุปกรณ์คอมพิวเตอร์เคลื่อนที่ (Mobile Devices) แหล่งดาวน์โหลดแอปพลิเคชั่น loom ดังนี้

      IOS => 

รายละเอียดเพิ่มเติมคลิก...


      7. webex 

    • Cisco Webex ระบบประชุมออนไลน์ที่ สามารถประชุม พูดคุย แชร์ข้อมูล ผ่านทางอุปกรณ์ IOS,Android,Laptop,PC เพียงแค่อุปกรณ์ของท่านเข้าถึงอินเตอร์เน็ตท่านก็สามรถติดต่อสื่อสารกันได้จากทั่วทุกมุมโลก (ในช่วงสถานการณ์ COVID-19 ทาง Cisco ได้สนับสนุน License ในการประชุมและการเรียนการสอนออนไลน์สำหรับสถาบันอุดมศึกษาโดยไม่มีค่าใช้จ่ายเป็นระยะเวลา 180 วัน)
    • เข้าใช้งานได้ที่ https://rmutsb.webex.com/
    • คู่มือการใช้งาน webex [ดูทั้งหมด]
    • แหล่งเรียนรู้จากภายนอก [เพิ่มเติม] **ขอบคุณแหล่งเรียนรู้จากภายนอก Youtube.com   
    • สำหรับอุปกรณ์คอมพิวเตอร์เคลื่อนที่ (Mobile Devices) แหล่งดาวน์โหลดแอปพลิเคชั่น webex ดังนี้

Android =>             |                IOS =>  

 

รายละเอียดเพิ่มเติมคลิก...


     8. Microsoft Office

รายละเอียดเพิ่มเติมคลิก...


     9. oCam

    • โปรแกรม oCam คือ โปรแกรมสำหรับบันทึกภาพและวีดีโอหน้าจอที่มีขั้นตอนในการใช้งานที่สะดวก โปรแกรมตัวนี้ มีความสามารถในการอัดวิดีโอให้เป็นไฟล์ AVI, MP4, FLV, MOV, TS, VOB สามารถอัดเสียง เป็นไฟล์ MP3 ได้และมีระบบการจับภาพหน้าจอให้เป็นไฟล์ JPEG, GIF, PNG, BMP นอกจากนั้น โปรแกรม oCam ยังสามารถเลือกได้ว่าต้องการจะบันทึกภาพหรือวิดีโอจากทั้งหน้าจอเลยหรือว่าต้องการจะ บันทึกแค่เฉพาะบางส่วนที่ต้องการเท่านั้น
    • เข้าใช้งานได้ที่ https://ohsoft.net/eng/ocam/intro.php?cate=1002
    • แหล่งเรียนรู้จากภายนอก [เพิ่มเติม] **ขอบคุณแหล่งเรียนรู้จากภายนอก Youtube.com   
    • คู่มือการใช้งาน oCam [pdf]

รายละเอียดเพิ่มเติมคลิก...


       10. Open Broadcaster Software (OBS)

รายละเอียดเพิ่มเติมคลิก...

  1. Teamviewer 
  2. Chrome Remote Desktop 

รายละเอียดเพิ่มเติมคลิก...

    การใช้งานฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์จำเป็นจะต้องใช้ระบบเครือข่ายภายในมหาวิทยาลัย ในการอ่านหรือดาวน์โหลด (Full paper) โดยสามารถเข้าถึงเครือข่ายภายในจากเครือข่ายภายนอกมหาวิทยาลัย โดยใช้เครื่องมือประเภทเครือข่ายเสมือน
(VPN Virtual Private Network ) ผ่านโปรแกรม VPN Soft ether และ Open VPN 

 

   1. line official : สำนักวิทยบริการ RUS      ID: @amn4595k   เพิ่มเพื่อน

                     

    2. Page Facebook : สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ

 







45033 ครั้ง